Site icon SDG Move

นับถอยหลัง HLPF 2021 – มีอะไรในรายงาน VNR ของประเทศไทย

– นับถอยหลังสู่การประชุม ‘HLPF 2021’ หมุดหมายสำคัญของวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน และเพื่อเป็นการเตรียมพร้อมความเข้าใจก่อนวันประชุมจะเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 6-15 กรกฎาคม 2564 เราจึงชวนมารู้จักว่าการประชุม HLPF คืออะไร สำคัญอย่างไร ความเกี่ยวข้องของไทยกับเวที ดังกล่าว รวมถึงว่าประชาคมโลกเขาพูดเรื่องอะไรกันจนถึงปัจจุบันนี้ –

HLPF 2021 – 05 – มีอะไรในรายงาน VNR ของประเทศไทย

ตามที่ได้เสนอไปใน นับถอยหลัง HLPF 2021 – HLPF ที่ผ่านมา คุยอะไรกันบ้าง ? ในปีนี้ ไทยจะเป็น 1 ใน 44 ประเทศที่รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจ หรือ VNR อย่างเป็นทางการต่อที่ประชุม HLPF โดยปีนี้จะเป็นการรายงาน VNR ครั้งที่ 2 ของประเทศไทย

แม้ว่าไทยจะไม่ต้องนำเสนอรายงาน VNR อย่างเป็นทางการทุกปี แต่ประเทศไทย (โดยกระทรวงการต่างประเทศ) ได้จัดทำรายงาน VNR เพื่อทบทวนการดำเนินงานในระดับประเทศอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี ตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา โดยในวันนี้ ลองมาทบทวนอีกครั้งว่าในบางส่วนของรายงาน VNR แต่ละปี มีอะไรที่น่าสนใจบ้าง

รายงาน VNR ประจำปี 2560 (2017)

รายงาน VNR ประจำปี 2561 (2018)

รายงาน VNR ประจำปี 2562 (2019)

รายงาน VNR ประจำปี 2563 (2020)

รายงาน VNR ประจำปี 2564 (2021)

* ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึง รายงาน VNRs ของประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2560 – 2563 ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ได้ที่ SEP4SDGs

นอกจากนั้น เป็นเรื่องน่ายินดีที่ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน SDGs ในภาควิชาการด้วยการจัดตั้ง Sustainable Development Solutions Network (SDSN) หรือ เครือข่ายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย ซึ่งนำโดย ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Move) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ ได้ปรากฏอยู่ในรายงาน VNR ประจำปี 2564 นี้ด้วย

ติตตามข่าวสาร HLPF 2021 ได้ที่ : https://sustainabledevelopment.un.org/hlpf/2021
ข้อมูล HLPF ทั้งหมดที่ : https://sustainabledevelopment.un.org/hlpf
และ VNRs ที่ : https://sustainabledevelopment.un.org/vnrs/
หรือติดตามช่องทางของ SDG Move ที่ : https://www.sdgmove.com/?tag=hlpf และ https://www.sdgmove.com/tag/vnr/

ประเด็นดังกล่าวเกี่ยวข้องกับ #SDG17 หุ้นส่วนระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

แหล่งที่มา:
SEP4SDGs

Author

  • Social Media Manager - ตัวแทน 'คนธรรมดา' ในชุมชนนักวิชาการ อ่าน แปล และสื่อสารเรื่องความยั่งยืน

Exit mobile version