SDG Updates | สำรวจรายงาน SDG Index 2024 โลกยังไม่บรรลุเป้าหมายใด – ไทยคะเเนนเท่าเดิมเเต่อันดับร่วง

เผยแพร่แล้ว ! "SDG Highlights 2023: Thailand's Unsustainable Development Review" ไฮไลต์สถานการณ์สำคัญของ​ "ความไม่ยั่งยืน" ในประเทศไทย

เวทีเสวนาวิชาการ "SDG Index 2023 กับการขับเคลื่อนประเทศไทยในครึ่งหลังของวาระการพัฒนา 2030"

งานเสวนาวิชาการสาธารณะ "Broken Governance | ความผุพังของธรรมาภิบาล = รากความไม่ยั่งยืนของไทย"

SDG Insights | Inside SDG Index: เพราะอะไรสถานะ SDGs ใน SDG index ของไทยเปลี่ยนแปลงตลอด 7 ปีที่ผ่านมา ?

SDG Updates | SDG Index 2023 สถานการณ์โลก - อาเซียน - ไทยหลังผ่านมาครึ่งทาง

SDG Insights | PM 2.5 ภัยคุกคามต่อความไม่ยั่งยืนด้านสุขภาพของคนไทย

SDG Insights | ชำแหละนโยบายแก้ฝุ่น PM2.5 ในภาคเกษตร : อะไรคือต้นเหตุของความไม่ยั่งยืน

Latest Post See All Post

มรสุม 2567: เมื่อเส้นชีวิตกลายเป็นภัยพิบัติ สำรวจสถานการณ์น้ำท่วมเเละการตั้งรับปรับตัวของไทย

ดร.ณัฐวิคม พันธุวงศ์ภักดี มรสุม เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีบทบาทสำคัญต่อการดำรงชีวิตของผู้คนในหลายภูมิภาคทั่วโลก โดยเฉพาะในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มรสุมมีหน้าที่สำคัญในการส่งน้ำฝนที่จำเป็นต่อการเกษตร เติมเต็มแหล่งน้ำ และสนับสนุนวิถีชีวิตของผู้คนมาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของมรสุมจากเส้นชีวิตที่หล่อเลี้ยงการเกษตรและระบบนิเวศ กลายเป็นภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายในหลายพื้นที่ ในสถานการณ์เช่นนี้ การพูดคุยในสังคมไม่... (เพิ่มเติม)
By SDG MOVE TEAM / OCT 08, 2024
About

ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Move) อยู่ภายใต้คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีพันธกิจ 3 ประการคือ (1) เป็นศูนย์ความรู้ (knowledge hub) ที่เกี่ยวกับ SDGs (2) ทำงานวิจัยเชิงนโยบายเพื่อขับเคลื่อน SDGs ในประเทศไทย และ (3) ประสานงานเครือข่ายทุกภาคส่วนและผลักดันการจัดตั้งและดำเนินการ Sustainable Development Solutions Network (SDSN) ประเทศไทย

Insights
SEE ALL POST

SDG Insights | ความท้าทายของ “ผู้บริหารหญิง” ในองค์กรพลังงานชั้นนำ สำรวจมุมมองการพัฒนาคน บนความเท่าเทียมทางเพศ

ในยุคที่การเปลี่ยนแปลงทางพลังงานกำลังเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว อุตสาหกรรมพลังงานภาคเอกชนมีบทบาทสำคัญในการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นและความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อม ในบริบทนี้การมีส่วนร่วมของผู้บริหารเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดทิศทางองค์กร เพราะความหลากหลายทางเพศในคณะผู้บริหารสามารถเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม เพื่อค้นหาวิธีแก้ปัญหาที่ครอบคลุม ผู้บริหารภาคเอกชนพลังงาน จึงนับว่าเป็นจิ๊กซอว์สำคัญที่เสนอแนวคิดและมุมมองที่แตกต่างซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กร&nb... (เพิ่มเติม)
News
SEE ALL POST
'ภัยพิบัติทั่วโลก' ปัจจัยทำตัวเลขผู้พลัดถิ่นภายในประเทศสูงกว่าจากความขัดแย้งและความรุนแรง
รายงานจากธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ร่วมกับศูนย์เฝ้าระวังการพลัดถิ่นภายในประเทศ (Internal Disp... (เพิ่มเติม)
ดัชนีความยากจนหลายมิติ ปี 2567 ชี้ ‘คนจนหลายมิติ’ มีมากถึง 1.1 พันล้านคน - ครึ่งหนึ่งเป็นผลจากสงคราม
วันที่ 17 ตุลาคมของทุกปี เป็นวันขจัดความยากจนสากล (International Day for the Eradication of Poverty) ปีนี้โครงการพัฒนาแห่งสหประ... (เพิ่มเติม)
UN Global Compact เผยแพร่รายงานฉบับล่าสุด ชี้ต้องเร่งรัดสร้างนวัตกรรมด้านการเงินเพื่อบรรลุ SDGs และเน้นสร้างความโปร่งในตลาดการเงิน 
UN Global Compact ซึ่งเป็นโครงการริเริ่มด้านความยั่งยืนขององค์กรที่ใหญ่ที่สุดในโลก เผยแพร่รายงานชื่อ ‘Accelerating Innovation i... (เพิ่มเติม)
สหประชาชาติประกาศปฏิญญาระดับโลก เพื่อต่อสู้ปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR)
องค์การสหประชาชาติได้บรรลุความสำเร็จในการสร้างความตกลงระดับโลกเพื่อต่อสู้กับปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ซึ่งกำลังเป็นภัยคุกค... (เพิ่มเติม)