TU SDG Seminars | เจาะลึกแนวทางในการส่งเสริมการศึกษาและความรู้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ และการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มเปราะบาง – ชวนหาคำตอบจากบทสรุปการสัมมนาการวิจัยด้านการลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรมในสังคม

ชวนอ่านบทสรุปการสัมมนา ครั้งที่ 2 หัวข้อ “การวิจัยด้านการลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรมในสังคม” โดย ผศ. ดร.วสิศ ลิ้มประเสริฐ วิทยาลัยสหวิทยาการ และ รศ. ดร.ชุมเขต แสวงเจริญ ค... (เพิ่มเติม)

TU SDG Seminars | งานวิจัยจะศึกษาและหนุนเสริมการลดความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ได้อย่างไร ชวนหาคำตอบจากบทสรุปสัมมนาการวิจัยด้านการลดความเหลื่อมลํ้าและการสร้างความเป็นธรรมในสังคม

ชวนอ่านบทสรุปการสัมมนาการวิจัยหัวข้อ “การวิจัยระดับพื้นที่เพื่อขับเคลื่อนการลดความเหลื่อมล้ำและการสร้างความเป็นธรรมในสังคม” โดย ผศ.รณรงค์ จันใด และ รศ .ดร.ภาวิณี เอี่ยมต... (เพิ่มเติม)

ชุมชนเมืองในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จะนำ ‘ทุนที่มีค่า’ ในชุมชนมาใช้ตั้งรับปรับตัวต่อวิกฤติการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร

กรุงเทพฯ และปริมณฑล ในปี 2559 มีประชากรรวมราว 10.6 ล้านคน นับว่าเป็นเมืองหลวงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศไทยที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่กลับมีความเสี่ยงในการเผชิญกับวิ... (เพิ่มเติม)

Funding Opportunities I แนะนำทุนวิจัยที่น่าสนใจด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และด้านการขับเคลื่อนการนำ SDGs ไปปฏิบัติในพื้นที่

สำหรับสัปดาห์นี้ขอแนะนำโครงการและโอกาสของการสนับสนุนด้านเงินทุนและองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับการวิจัยระดับแนวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (STI for... (เพิ่มเติม)

เมื่อบางครั้ง ‘ผู้ดูแล’ ก็เหนื่อยล้า ทำความเข้าใจภาระหน้าที่การดูแลผู้ป่วยติดเตียง อะไรคือปัญหาและอุปสรรค

ภาระของผู้ทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วย (The informal family caregiver burden : IFCB) โดยเฉพาะในการดูแลผู้สูงอายุป่วยเรื้อรังติดเตียง (chronically ill bedridden elderly patients : CIBEPs) ... (เพิ่มเติม)

TU SDG Seminars | สะท้อนความคิดและการศึกษางานวิจัยความยากจน มีอุปสรรคและความท้าทายอย่างไร – ชวนหาคำตอบจากบทสรุปการสัมมนาการวิจัยด้านการลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรมในสังคม

ชวนอ่านบทสรุปการสัมมนา ครั้งที่ 2 หัวข้อ “การวิจัยด้านการลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรมในสังคม” โดย รศ. ดร.ณัฐพงษ์ พัฒนพงษ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในกลุ่มการวิ... (เพิ่มเติม)

ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการสุขภาพ การประเมินเชิงพื้นที่ของจังหวัดอุบลราชธานีผ่านการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

การบรรลุความเท่าเทียมในการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพถือเป็นเป้าหมายนโยบายที่สำคัญต่อสุขภาวะของประชากรโดยรวมในทุกประเทศ และเป็นหนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Developme... (เพิ่มเติม)

TU SDG Seminars | การทำงานวิจัยด้านอาหารและยาร่วมกับผู้ประกอบการภาคเอกชน ปัญหา อุปสรรค และประเด็นที่น่าสนใจ มีอะไรบ้าง – ชวนหาคำตอบจากบทสรุปการสัมมนาการวิจัยด้านสุขภาพและสุขภาวะที่ดีของคนทุกช่วงวัย

ชวนอ่านบทสรุปการสัมมนาการวิจัยด้านสุขภาพและสุขภาวะที่ดีของคนทุกช่วงวัย โดย รศ. ดร.ประภาศรี เทพรักษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ ดร.สุเมธ คงเกียรติไพบูลย์ ศูนย์วิจัยค้นคว้าและพั... (เพิ่มเติม)

การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ส่งผลให้ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในแต่ละภาคของไทยเพิ่มขึ้นหรือลดลงมากกว่ากัน

การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) เป็นการเคลื่อนย้ายทุนจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่งโดยเจ้าของทุนยังมีอำนาจในการดูแลกิจการที่มีการนำทรัพยากรการผลิต ... (เพิ่มเติม)

Funding Opportunities I แนะนำทุนวิจัยที่น่าสนใจด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และด้านการขับเคลื่อนการนำ SDGs ไปปฏิบัติในพื้นที่

สำหรับสัปดาห์นี้ขอแนะนำโครงการและโอกาสของการสนับสนุนด้านเงินทุนและองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับการวิจัยระดับแนวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (STI for... (เพิ่มเติม)

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม มีสิ่งใดที่ต้องคำนึงถึงบ้าง? ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ. ดร.อุรุยา วีสกุล’

ชวนอ่านงานวิจัย “ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำหรับอุตสาหกรรมรายสาขา (ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (บูรณาการ))” โดย รศ. ดร.อุรุยา วีสกุล ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณ... (เพิ่มเติม)

TU SDG Seminars | งานวิจัยจะหนุนเสริมระบบสุขภาพไทยให้กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นได้อย่างไร – ชวนหาคำตอบจากบทสรุปการสัมมนาการวิจัยด้านสุขภาพและสุขภาวะที่ดีของคนทุกช่วงวัย

ชวนอ่านบทสรุปการสัมมนาการวิจัยด้านสุขภาพและสุขภาวะที่ดีของคนทุกช่วงวัย หัวข้อ “ก้าวต่อไปของการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ” โดย รศ. ดร.ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา วิทยาลัยสหวิทยาการ และหัวข้... (เพิ่มเติม)

ทั้งหมด 12 จาก 99 บทความ