ESCAP รายงานความก้าวหน้า เอเชีย-แปซิฟิก ชี้อาจไม่บรรลุ SDGs ภายในปี 2030 ท่ามกลางปัญหา ‘สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ’

เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) ได้เผยแพร่ “Asia and the Pacific SDG Progress Report 2025: Engaging communities to close t... (เพิ่มเติม)

SDG Move ร่วมงานเปิดตัวรายงาน ​”Asia and the Pacific SDG Progress Report 2025″

18 กุมภาพันธ์ 2568 - ตัวแทนศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Move) นำโดยทีมงานฝ่ายสื่อสารองค์ความรู้ได้เข้าร่วมงานเปิดตัวรายงาน Asia and the Pacific SDG Progres... (เพิ่มเติม)

Editor’s pick 11 | ประมวลภาพรวม 3 เดือนสุดท้ายปี 2024: วิกฤตสุขภาพ พลังงาน และความมั่นคงทางอาหาร ท่ามกลางผลกระทบโลกรวน 

สวัสดีผู้อ่านทุกท่าน ขอถือโอกาสต้อนรับปี 2568 อย่างเป็นทางการ ตลอดปี 2567 ที่ผ่านมา ทีมงาน SDG Move ได้มุ่งมั่นติดตามและดำเนินงานด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติอย่างต่อเนื่อง ส... (เพิ่มเติม)

ความจำเป็นเร่งด่วนของ “ทรัพยากรพลังงานแบบกระจายศูนย์” (DERs) ในช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงของภาคพลังงาน

ดร. ประเสริฐศักดิ์ เจริญ บทความนี้สรุปบทบาทสำคัญและความจำเป็นเร่งด่วนของทรัพยากรพลังงานแบบกระจายศูนย์ (Distributed Energy Resources: DERs) ที่มีต่อภูมิทัศน์พลังงานที่กำลังเ... (เพิ่มเติม)

ทำไมค่าไฟถึงแพง? ความโปร่งใสของสัญญาที่ต้องตั้งคำถาม กระทบประชาชนแบกรับต้นทุนพลังงาน

#ค่าไฟแพง  ประเด็นร้อนที่กำลังถูกพูดถึงในสังคมและโลกออนไลน์ ด้วยปัญหาราคาค่าไฟแพงที่เรื้อรังมาตั้งแต่รัฐบาลชุดก่อน ๆ และคงบานปลายมาถึงรัฐบาลชุดปัจจุบัน เนื่องจากการวางนโยบายด้านพล... (เพิ่มเติม)

บทบาทของประเทศจีนกับการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน : การลงทุน นวัตกรรม และผลกระทบต่อโลก

ดร.ศุภโชค วังมะนาวพิทักษ์ ประเทศจีนมีบทบาทสำคัญในเวทีพลังงานทางเลือกระดับโลก ทั้งในด้านนโยบาย การลงทุน และการพัฒนานวัตกรรมพลังงานหมุนเวียน จีนเองมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการลดก... (เพิ่มเติม)

วิสัยทัศน์การเปลี่ยนแปลงสู่โครงข่ายไฟฟ้าระบบกระจายศูนย์ (Distributed Grid)

ดร. ประเสริฐศักดิ์ เจริญ บทความนี้นำเสนอการสรุปวิสัยทัศน์ของ Astrid Atkinson ผู้ร่วมก่อตั้งและซีอีโอของ Camus Energy บริษัทที่ให้บริการซอฟต์แวร์สำหรับบริหารจัดการระบบไฟฟ้า ... (เพิ่มเติม)

12 ข้อสังเกตเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนในยุโรป (และประเทศไทย)

ดร.ศุภโชค วังมะนาวพิทักษ์ ช่วงที่ผ่านมา พลังงานไฮโดรเจนได้รับความสนใจอย่างมากในฐานะทางเลือกในการทดแทนพลังงานฟอสซิลในการผลิตกระแสไฟฟ้าหรือใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมและยาน... (เพิ่มเติม)

What is Just Energy Transition ? – Recap ภาพรวมการเปลี่ยนผ่านพลังงานในประเทศไทย

โลกกำลังมุ่งหน้าสู่พลังงานสะอาด แต่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ย่อมมีทั้ง "คนได้" และ "คนเสีย" แล้วเราจะเปลี่ยนผ่านไปสู่พลังงานสะอาดได้อย่างไร ... โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ? ก... (เพิ่มเติม)

SDG Updates | สรุปเสวนา “Women in Energy – จุดพลังอนาคต สร้างแรงบันดาลใจจาก 4 ผู้นำหญิงในภาคพลังงาน”

เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 โครงการพลังงานสะอาด เข้าถึงได้ และมั่นคง สำหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Clean, Affordable, and Secure Energy for Southeast Asia: CASE) โดยองค์กรคว... (เพิ่มเติม)

รายงานล่าสุดของธนาคารโลกเสนอแนวคิด BCG+ และแนวทางขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่อรับมือกับความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมและ Climate Change

ประเทศไทยเปิดตัวโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green: BCG) Model) มาตั้งแต่ปี 2564 ซึ่งนับเป็นหมุดหมายสำคัญของการขยับไปสู่สังคมเศรษฐกิ... (เพิ่มเติม)

เปิดฉากการประชุม ‘COP29’ จับตาประเด็นการจัดหาเงินทุน – เร่งแก้ปัญหา Climate Change ในประเทศกำลังพัฒนา

เปิดฉากการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change Conference of the Parties: UNFCCC COP) ครั้... (เพิ่มเติม)

12 of 328