TU SDG Seminars | เจาะลึกงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการส่งเสริมอุตสาหกรรม และแนวทางการลดช่องว่างระหว่างนักวิจัยและผู้ประกอบการ – ชวนหาคำตอบจากบทสรุปการสัมมนาการวิจัยด้านการผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน

ชวนอ่านบทสรุปการสัมมนา ครั้งที่ 3 หัวข้อ “การวิจัยด้านการผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน” โดย รศ. ดร.พีระ เจริญพร คณะเศรษฐศาสตร์ และ ดร.พนิชากรณ์ ใจยงค์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทย... (เพิ่มเติม)

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม มีสิ่งใดที่ต้องคำนึงถึงบ้าง? ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ. ดร.อุรุยา วีสกุล’

ชวนอ่านงานวิจัย “ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำหรับอุตสาหกรรมรายสาขา (ภายใต้ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (บูรณาการ))” โดย รศ. ดร.อุรุยา วีสกุล ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณ... (เพิ่มเติม)

การจำลองโครงข่ายการจัดการขยะอย่างยั่งยืน สำหรับระบบการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ผ่านการสร้างโมเดลทางคณิตศาสตร์

ระบบการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน (municipal solid waste management: MSWM) ที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาลและไม่มีประสิทธิภาพเป็นปัญหาท้าทายที่ต้องได้รับการแก้ไข โดยทั่วไปในเขตเมือง สถานที่กำจัด... (เพิ่มเติม)

การผลิตไฟฟ้าจากขยะในประเทศไทย มีเทคโนโลยีและแหล่งของเสียใดบ้างที่เกี่ยวข้อง และนำไปสู่การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์อย่างไร

ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของประเทศไทยปี พ.ศ. 2556 ในทุกภาคส่วนอยู่ที่ประมาณ 164,341 กิกกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) แบ่งเป็น ภาคที่อยู่อาศัย 37,657 กิกกะวัตต์-ชั่วโมง ภาคบริการทั่วไปขนาดเล็ก 18,... (เพิ่มเติม)

เปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นคาร์บอนในเหล็ก การผลิตเหล็กจากกล่องอาหารทดแทนการใช้ถ่านหินได้หรือไม่? ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ.ดร.สมยศ คงคารัตน์’

ชวนอ่านงานวิจัย “การใช้ประโยชน์ขยะพอลิเมอร์กล่องบรรจุอาหารที่เกิดขึ้นจากธุรกิจส่งอาหารในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 เพื่อการผลิตเหล็กกล้าแบบยั่งยืน : การผลิตคาร์บอนกราไฟต์และการประ... (เพิ่มเติม)

การวิเคราะห์การไหลของวัสดุพลาสติก และผลการจำลองสถานการณ์ผ่านนโยบายรัฐ เพื่อใช้ในการจัดการขยะพลาสติกในประเทศไทย

การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยส่งผลให้การผลิตและการบริโภคพลาสติกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ผลพวงจากการผลิตและการบริโภคทำให้ขยะพลาสติกเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาก... (เพิ่มเติม)

การบูรณาการโซ่อุปทานสีเขียวและนวัตกรรมสีเขียวต่อการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและด้านต้นทุน ผ่านการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง

แนวคิดเกี่ยวกับการบูรณาการโซ่อุปทานสีเขียว (green supply chain integration หรือ GSCI) มาจากการจัดการโซ่อุปทานสีเขียว (green supply chain management หรือ GSCM) และการบูรณาการโซ่อุป... (เพิ่มเติม)

พื้นที่ต้นแบบ ‘ชุมชนริมคลองลาดพร้าว’ มีแนวทางพัฒนาระบบขนส่งทางน้ำและการท่องเที่ยวอย่างไร? ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ.ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล’

ชวนอ่านงานวิจัย “การพัฒนาชุมชนเศรษฐกิจหมุนเวียนเชิงบูรณาการด้วยนวัตกรรมการเชื่อมต่อระบบขนส่งทางน้ำ” โดย รศ.ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรร... (เพิ่มเติม)

‘โรงงานต้นแบบแปรรูปสมุนไพร’ เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดย่อม มีกระบวนการอย่างไร? ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ.ดร.กิตติพงศ์ ไชยนอก’

ชวนอ่านงานวิจัย “กิจกรรมการส่งเสริม พัฒนา โรงงานต้นแบบแปรรูปสมุนไพร (Support Center Model) ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพ SMEs สมุนไพรเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย งบประมาณรายจ่ายเพ... (เพิ่มเติม)

ทั้งหมด 9 จาก 9 บทความ