เมื่อปัจจุบัน ‘ผู้สูงอายุ’ เสี่ยงถูกละเมิดสิทธิเพิ่มขึ้น จะมีมาตรการกลไกป้องกันอย่างไร ? ชวนค้นหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ. ดร.เดชา สังขวรรณ’

ชวนอ่านงานวิจัย “มาตรการกลไกป้องกันการละเมิดสิทธิผู้สูงอายุ” โดย รศ. ดร.เดชา สังขวรรณ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เผยแพร่ผ่านสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธ... (เพิ่มเติม)

ภาคพลังงานไทยจะร่วมจำกัดอุณหภูมิโลกให้ต่ำกว่า 1.5 องศาเซลเซียสได้หรือไม่ อะไรคือปัจจัยขับเคลื่อนที่สำคัญ

ภาวะโลกร้อนเป็นปัญหาท้าทายของโลกมาอย่างต่อเนื่อง โดยหนึ่งในสาเหตุสำคัญ คือ กิจกรรมที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อาทิ การเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล การทำฟาร์ม และการตัดไม้ทำลายป่า ซึ่ง... (เพิ่มเติม)

ชวนสำรวจแหล่งกำเนิดและแนวทางลดฝุ่นละอองในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ ต.หน้าพระลาน จ.สระบุรี จากงานวิจัยของ ‘ผศ.ดร.ธงชัย ขนาบแก้ว’

ชวนอ่านงานวิจัย “โครงการศึกษาเพื่อหาแหล่งกำเนิดฝุ่นละอองในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ ตำบลหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี และพื้นที่โดยรอบเขตควบคุมมลพิษในรัศมีไม่เกิน 10 กิโลเมตร” โดย ผศ... (เพิ่มเติม)

Funding Opportunities I แนะนำทุนวิจัยที่น่าสนใจด้านการขับเคลื่อนการนำ SDGs ไปปฏิบัติในพื้นที่และการขับเคลื่อนนโยบาย SDG ในระดับชาติและภูมิภาค

สำหรับสัปดาห์นี้ขอแนะนำโครงการและโอกาสของการสนับสนุนด้านเงินทุนและองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับการวิจัยระดับแนวหน้าด้านการขับเคลื่อนการนำ SDGs ไปปฏิบัติในพื้นที่ (SDG Localization Res... (เพิ่มเติม)

การวิเคราะห์การไหลของวัสดุพลาสติก และผลการจำลองสถานการณ์ผ่านนโยบายรัฐ เพื่อใช้ในการจัดการขยะพลาสติกในประเทศไทย

การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยส่งผลให้การผลิตและการบริโภคพลาสติกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ผลพวงจากการผลิตและการบริโภคทำให้ขยะพลาสติกเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาก... (เพิ่มเติม)

ขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ชวนค้นหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘ผศ.ดร.ทรงชัย ทองปาน’

ชวนอ่านงานวิจัย “การขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา” โดย ผศ.ดร.ทรงชัย ทองปาน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุ... (เพิ่มเติม)

ความพยายามลดโลกร้อนของไทยเป็นอย่างไร ส่องแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจก ตามหมุดหมายของ ‘ความตกลงปารีส’

ความตกลงปารีส (Paris Agreement) เกิดจากจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยมีเป้าหมายที่ท้าทาย คือ การรักษาอุณหภูมิโลกให้ต่ำกว่า 2 องศาเซลเซียส เหนืออุณหภูมิช่... (เพิ่มเติม)

การประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ คืออะไร? นำมาใช้ศึกษากับการยางแห่งประเทศไทยอย่างไร? ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ.ดร.พาญพล พึ่งรัศมี’

ชวนอ่านงานวิจัย “ศึกษาวิจัยพร้อมประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (eco-efficiency) ของการยางแห่งประเทศไทย ตามแนวทางปฏิบัติที่ดี ISO 14045 ประจําปีงบประมาณ 2563” โดย รศ.ดร.หาญพล ... (เพิ่มเติม)

เรียนรู้ ‘โมเดลพื้นที่อำเภอปากช่อง’ จะวางแผน ควบคุม ป้องกัน โรคติดเชื้อพยาธิใบไม้อย่างไร ชวนค้นหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ. ดร.อมรรัตน์ เกิดแก้ว เคร็นซ์ และคณะ’

ชวนอ่านงานวิจัย “การศึกษาเพื่อการวางแผน การควบคุมและป้องกัน โรคติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในโคเนื้อและโคนม โดยใช้โมเดลการศึกษาในพื้นที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา” โดย รศ. ดร.อมรรัตน... (เพิ่มเติม)

Funding Opportunities | แนะนำทุนวิจัยที่น่าสนใจด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

สำหรับสัปดาห์นี้ขอแนะนำโครงการและโอกาสของการสนับสนุนด้านเงินทุนและองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับการวิจัยระดับแนวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (STI for... (เพิ่มเติม)

การบูรณาการโซ่อุปทานสีเขียวและนวัตกรรมสีเขียวต่อการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและด้านต้นทุน ผ่านการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง

แนวคิดเกี่ยวกับการบูรณาการโซ่อุปทานสีเขียว (green supply chain integration หรือ GSCI) มาจากการจัดการโซ่อุปทานสีเขียว (green supply chain management หรือ GSCM) และการบูรณาการโซ่อุป... (เพิ่มเติม)

พัฒนา ‘สภาวัฒนธรรม’ อย่างไร ให้ขับเคลื่อนด้วยพลังการมีส่วนร่วมและตอบโจทย์ท้องถิ่น ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘ผศ.รณรงค์ จันใด’

ชวนอ่านงานวิจัย “การพัฒนาโครงสร้างคณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมด้วยพลังการมีส่วนร่วม ของเครือข่ายในพื้นที่ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2553” โดย ผศ.รณรงค์ จันใด คณะสัง... (เพิ่มเติม)

ทั้งหมด 12 จาก 99 บทความ